Monera oui

Preview:

Citation preview

Kingdom Monera

ครูนุชนารถ เมืองกรุง

1. อาณาจักรมอเนอราหรืออาณาจักรแบคทีเรีย (Kingdom Monera)

- แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กประมาณ 1-5 ไมโครเมตร - มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน - ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรมและไม่มโีครงสร้างอื่นอีกหลาย- - ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส - มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นพบทุกบริเวณ - บางชนิดมีคลอโรฟิลล์ มีรูปร่างหลายแบบ

1. แบบแท่งหรือท่อนทรงประบอก ได้แก่ พวกบาซิลลัส (Bacillus)

2. แบบกลมหรือรี ได้แก่ พวกคอกคัส (Coccus)

3. แบบกลมรูปเกลียว (Spirillum)

ความหลากหลายของแบคทีเรยี

อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรยี - ผนังเซลล์ไม่มีเพปทิโดไกลแคน

- สามารถด้ารงชีวิตในแหล่งน ้าพุรอ้นทะเลที่มีน ้าเค็มจัด ในบริเวณที่มีความเป็นกรดสูงและบริเวณทะเลลึกเป็นต้น

- อาร์เคียแบคทีเรียแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

1. กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) ซึ่งสร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด 2. กลุ่มครีนาร์เคียโอตา(Crenarchaeota) ซึ่งชอบอุณหภูมิลูงและกรดจัด

อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย - พบได้ทั งในดิน น ้า อากาศ อาหาร นมและในร่างกายของสิ่งมีชีวิตอื่น

- สามารถพบได้ทั งในน ้าเค็ม น ้าจืด น ้ากร่อย ในธารน ้าแข็ง น ้าพุร้อน เป็นต้น

- ยูแบคทีเรียสามารถแยกชนิดได้ด้วยการย้อมสี (gram strain) ผนังเซลล์

-ถ้าติดสีม่วงของคริสตัลไวโอเลตจะเป็น แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)

ถ้าติดสีแดงของซาฟรานีนเป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram-Negative Bacteria)

1. กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) - เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สดุ

- พวกสังเคราะห์แสงได้ เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรยี (purple sulfur bacteria)

- พวกช่วยตรงึแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน

- ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp.ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว

Rhizobium sp.

2. กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)

- เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ท้าให้เกิดโรคติดต่อ

ทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น

3. กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)

- เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบมีรูปทรงเกลียว

- มีความยาวประมาณ 0.25 มิลลิเมตร

- ด้ารงชีวิตแบบอิสระ แต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู

โรคฉี่หนู หรือ ไข้ฉี่หนู หรือโรคเล็ปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) เป็นโรคระบาดในคน พบได้บ่อยในช่วงเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน ซึ่งเป็นฤดูฝน การติดต่อของโรคฉี่หนู ปกติแล้ว โรคฉี่หนู จะติดต่อกันโดยการสัมผัส เช่น ปัสสาวะ เลือด เนื อเยื่อของสัตว์ที่มีการติดเชื อโดยตรง หรือสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนเชื อโรค อาการ มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ รู้สึกหนาวสั่น ปวดศีรษะ บริเวณหน้าผาก หรือปวดหลังเบ้าตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื ออย่างรุนแรง ปวดบริเวณน่อง โคนขา หลัง และหน้าท้องด้วย นอกจากนี อาจมีอาการเจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก ผื่น สับสน ไอเป็นเลือด มีไข้

4. กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)

- เป็นยูแบคทีเรียที่พบทั่วไปในดิน อากาศ

- บางสปีชีส์สามารถผลิตกรดแลกติกได้ เช่น Lactobacillus sp. จึงนามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต

- Steptomyces sp.ใช้ท้ายาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บโตมัยซิน ยาเตตรา

- Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ท้าให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี

- บางชนิดเป็นสาเหตุท้าให้เกิดโรคแอนแทรกซ์

- ไมโคพลาสมา (mycoplasma) เป็นเซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์มีเพียง เยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั นของไขมัน ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางพวกท้าให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว

อาการ - สัตว์เป็นโรคนี แบบเฉียบพลันจะตายอย่างรวดเร็วภายในเวลา 1-2 ชั่วโมง มีอาการซึม หายใจเร็ว ลึก หัวใจเต้นเร็ว ไข้สูง มีเลือดคั่ง - ในคนจะพบแผลหลุมตามนิ วมือ แขน หรือช่องปาก และมีอาการเจ็บปวดในช่องท้อง และจะท้าให้คนตายได้

5. กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)

- สังเคราะห์แสงได้ มี คลอโรฟิลล์ เอ แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน

- นักวิทยาศาสตร์คาดว่า เป็นพวกท้าให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ นก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน

- สามารถตรึงแก๊สไนโตเจนในอากาศ ให้เป็นสารประกอบไนเตรต เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสิลลาทอเรีย (Oscillatoria

นอสตอก ออสซิลลาทอเรีย

Recommended