53
แผนการจัดการความรูประจาปีการศึกษา 2558 ตามยุทธศาสตร์ที1 ยกระดับคุณภาพทรัพยากรการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรูและยุทธศาสตร์ที4 ปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสู่องค์กร เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูง จัดทาโดย สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วันที18/ ธันวาคม / 2558

แผนการจัดการความรู้arit.pbru.ac.th/km/images/Document/kmplan58.pdf · ขอบเขต km ดานการจัดการเรียนการสอนตามกรอบ

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • แผนการจัดการความรู ้

    ประจ าปีการศึกษา 2558 ตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับคุณภาพทรัพยากรการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

    และสภาพแวดลอ้มทีเ่อือ้ต่อการเรียนรู ้และยุทธศาสตร์ที่ 4 ปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสู่องค์กร

    เรียนรูท้ี่มีประสิทธภิาพสูง

    จัดท าโดย

    ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วันที่ 18/ ธันวาคม / 2558

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 0 -

    สารบัญ

    หน้า ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร 1

    ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนการจัดการความรู้ 2

    ส่วนที่ 3 การก าหนดขอบเขตการจัดการความรู้ 6 3.1 ขอบเขตการจัดการความรู้ (KM Focus Area)

    3.2 เป้าหมาย KM (Desired State) 3.3 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Key Success Factor)

    ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ประเด็นความรู้ และแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 7

    4.1 แผนการจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์ (KM1 Action Plan) 9 4.2 แผนการจัดการความรู้การให้บริการฐานข้อมูลอิเลคทรอนิคส์ (KM2 Action Plan) 24

    ส่วนที่ 5 สรุปงบประมาณการด าเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ 47

    ภาคผนวก 49 1. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ 50

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 1 -

    ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร

    ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เป็นหน่วยงานส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตบัณฑิตและยุทธศาสตร์อื่นๆ ของมหาวิทยาลัย โดยมุ่งเน้นการให้บริการด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีต่างๆ ร่วมถึงการเผยแพร่ความรู้ให้กับสังคมการปฏิบัติภารกิจดังกล่าวจ าเป็นต้องมีบุคลากรปฏิบัติงานที่มีความรอบรู้ในงานที่ปฏิบัติ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส านักงานวิทยบริการฯ ได้ใช้การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากร เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและจ าเป็นต่อการปฏิบัติงานด้านการบริการสารสนเทศ ประกอบด้วยความรู้ที่อยู่ในรูปของเอกสาร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน ขั้นตอนการท างาน และความรู้ที่อยู่ในตัวบุคลากร ที่มาจากประสบการณ์จากการท างาน ทักษะความเชี่ยวชาญ เฉพาะบุคคล ความรู้ที่เกิดจากปัญหา อุปสรรค การแก้ไขปัญหา และการปรับปรุงพัฒนางาน น ามาจัดท าเป็นสารสนเทศเพื่อประมวลเป็นแนวทางการด าเนินงานอย่างเป็นระบบระเบียบ ทั้งนี้ บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ผ่านทางเว็บไซต์ การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากร การน าวิธีการปฏิบัติที่ดีมาถ่ายทอดภายในองค์กร และน ามาใช้พัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะน าไปสู่การเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)

    การด าเนินการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการจัดการความรู้ในทุกส่วนงานของส านักวิทยบริการฯ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของ บุคลากรในการด าเนินการจัดการความรู้ ส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อเก็บรวบรวมองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและมีความส าคัญต่อการปฏิบัติราชการให้บุคลากรภายในองค์กรสามารถเข้าถึง เกิดการแลกเปลี่ยนเรยีนรู้ระหว่างบุคลากรทุกระดับ สามารถน าองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้และถ่ายทอดให้กับบุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยที่เป็นผู้ใช้บริการเพื่อผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส านักวิทยบริการฯ ด้วยผลงานท่ีมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ

    ปีการศึกษา 2558 ส านักวิทยบริการฯ ได้ก าหนดวัตถุประสงค์การจัดการความรู้คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส านักวิทยบริการฯ ที่มีอยู่ทั้งในตัวบุคคล เอกสารต่างๆ มาพัฒนาให้เป็นระบบ และเกิดการน าองค์ความรู้ไปแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดทั้งภายในและภายนอก จากการประชุมปีการศึกษา 2558 ได้เสนอให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ โดยท าหน้าท่ีก าหนดนโยบาย ประเด็นการจัดการความรู ้บุคลากรผู้รับผิดชอบ ตลอดจนการติดตามและประเมินผลการจัดการความรู้แต่ละปี ทั้งนี้คณะกรรมการได้ประชุมและร่วมกันก าหนดให้มีการจัดการการความรู้ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของส านักวิทยบริการฯ ด้านการยกระดับคุณภาพทรัพยากรการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และยุทธศาสตร์การปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสู่องค์กรเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูง

    (อาจารย์ปิยวรรณ คุสินธุ์) ผู้อ านวยการส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 2 -

    ส่วนที่ 2 การจัดท าแผนการจัดการความรู้ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) เป็นแผนงานที่แสดงถึงรายละเอียดการด าเนินงานของกิจกรรมการจัดการความรู้ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากบุคลากรทั้งภายในและภายนอก เช่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบและเข้าถึงง่าย การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เป็นต้น เพ่ือให้องค์กรบรรลุผลตามเป้าหมายขององค์ความรู้ที่ก าหนด และสนับสนุนการด าเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส านักวิทยบริการฯ รวมถึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย

    แนวทางการจัดท าแผนการจัดการความรู้ครั้งนี้ก าหนดขึ้นตามกรอบการบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และแผนดังกล่าวได้น าไปปฏิบัติ ดังนี้

    1. แสดงแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) อย่างน้อย 2 องค์ความรู้ตามแนวทางที่ก าหนด ได้แก่

    1.1 มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ 1.2 มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน/ภายนอกองค์กร 1.3 มีรายการองค์ความรู้เพ่ือสนับสนุน/ สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ครบทุกประเด็น

    ยุทธศาสตร์ 1.4 มีการจ าแนกองค์ความรู้ที่จ าเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 1.5 เลือกองค์ความรู้ที่จ าเป็นอย่างน้อย 2 องค์ความรู้จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตรท์ี่แตกต่างกัน 1.6 ก าหนดเกณฑ์การวัดผลส าเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามค ารับรองฯ หรือตัวชี้วัด (KPI) อ่ืนๆ

    ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ 1.7 มีการจัดท าแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการจัดการ

    ความรู้ต่างๆตามกระบวนการการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process: KMP) ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน โดยมีการบูรณาการร่วมกันกับกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process: CMP)

    1.8 มีกิจกรรมยกย่องชมเชย ให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม 1.9 มีการลงนามเห็นชอบการจ าแนกองค์ความรู้ที่จ าเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์

    จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) /หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายอ านาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) /หรือผู้ที่ได้รับการมอบอ านาจ ฯ

    1.10 มีการลงนามเห็นชอบแผนการจัดการความรู้จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ(CEO) / หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายอ านาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) /หรือผู้ที่ได้รับการมอบอ านาจฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

    2. การด าเนินงานตามแผนและกิจกรรมการจัดการความรู้ได้ส าเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรม ดังนี้

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 3 -

    2.1 สามารถด าเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วน ทุกกิจกรรมที่ก าหนดในแผน KM ครบทั้ง 2 แผน 2.2 ทุกกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการด าเนินการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายไม่น้อย กว่า

    ร้อยละ 80 ครบทั้ง 2 แผน 2.3 มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตาม

    ประเมินผลการด าเนินงานของกิจกรรมตามแผนฯ ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปีโดยมีช่วงห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม

    วิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ของส านักวิทยบริการฯ เป็นส่วนส าคัญในการก าหนด

    ขอบเขตการจัดการความรู้ และน าไปเป็นกรอบในการปฏิบัติงาน ซึ่งยุทธศาสตร์ต่างๆ นั้น มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัย ดังนั้น เพื่อให้การเป็นองค์กรที่สนับสนุนการผลิตบัณฑิต ส านักวิทยบริการฯ ได้ก าหนดขอบเขต KM 2 ขอบเขต ดังต่อไปนี้

    1. ขอบเขต KM ด้านการจัดการเรียนการสอนตามกรอบ TQF (พัฒนาสนับสนุนสื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย)

    2. ขอบเขต KM ด้านการพัฒนาบุคลากรสู่มืออาชีพ (เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ)

    วิสัยทัศน์ (Vision) ภายในปี พ.ศ. 2562 ส านักฯจะเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีสารสนเทศและการเรียนรู้ของท้องถิ่น

    เพื่อมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล อัตลักษณ์ (Identity) “บริการดี มีคุณธรรม น าเทคโนโลยี”

    พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาสนับสนุนสื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย และสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่ อการเรียนรู้ เพ่ือตอบสนองพันธกิจมหาวิทยาลัยอย่างเต็มประสิทธิภาพ 2. สนับสนุนทักษะการคิดวิเคราะห์ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ 3. บริการวิชาการ/วิชาชีพด้านการจัดการห้องสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ชุมชน สังคม และเครือข่าย 4. สืบสาน เผยแพร่ พัฒนาช่องทางการเข้าถึงองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 5. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยในทุกๆ ด้าน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขั้นสูง

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 4 -

    ประเด็นยุทธศาสตร ์ เป้าประสงค์หลัก กลยุทธ์ 1. ยกระดับคุณภาพทรัพยากรการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้

    1. เป็นแหล่งรวมของสื่อการเรียนรู้ เพ่ือสนับสนุนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล

    1.1 จัดหาทรัพยากรการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย ตรงตามความต้องการ 1.2 พัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้แบบดิจิทัลและช่องทางการเข้าถึง 1.3 พัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

    2. สร้างเสริมทักษะการคิดและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา

    2. แหล่งรวบรวมองค์ความรู้ทางวิชาการ/งานวิจัยเพ่ือให้บริการแก่อาจารย์ นักศึกษา และประชาชน

    2.1 พัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ด้วยตนเองและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา

    3. เพ่ิมศักยภาพการบริการวิชาการ และเสริมสร้างองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

    3. เป็นที่พ่ึงด้านวิชาการและวิชาชีพต่อชุมชนและสังคม 4. ศูนย์ข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

    3.1 สร้าง/ให้ความร่วมมือเพ่ือบริการวิชาการด้านการจัดการห้องสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศกับหน่วยงานภายในและภายนอก 3.2 ปรับปรุงระบบคลังความรู้เพื่อการเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 3.3 พัฒนาศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นศูนย์ทดสอบความรู้ด้านคอมพิวเตอร์

    4. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสู่องค์กรเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูง

    5. ระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

    4.1 ยกระดับคุณภาพการบริการให้ได้มาตรฐานตามหลักธรรมาภิบาล และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 เพ่ิมขีดสมรรถนะบุคลากรด้วยกระบวนการจัดการความรู้ 4.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมุ่งสู่สังคมดิจิทัล (Digital Economy) และ E-University 4.4 พัฒนาส านักฯ มุ่งสู่การเป็น Green Library

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 5 -

    แผนผังการวิเคราะห์และจัดท าแผนการจัดการความรู้ ปีการศึกษา 2558

    วิสัยทัศน์

    พันธกิจที่ 1 ด้านการจัดการเรียนการสอนตามกรอบ TQF

    การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภฏัเพชรบุรี (KM1 Focus Area)

    พันธกิจที่ 5 ด้านการพัฒนาบุคลากรสู่มืออาชีพ

    การบริการให้ความรู้ด้านฐานข้อมูลออนไลน์ (KM2

    Focus Area)

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 6 -

    ส่วนที่ 3 การก าหนดขอบเขตการจัดการความรู้ 3.1 ขอบเขตการจัดการความรู้ (KM Focus Area)

    ขอบเขต KM (KM Focus Area) ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์และจะด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในปีการศึกษา 2558 ประกอบด้วย

    การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (KM1 Focus Area)

    การบริการความรู้ด้านฐานข้อมูลออนไลน์ (KM2 Focus Area) 3.2 เป้าหมาย KM (Desired State)

    เป้าหมาย KM (Desired State) ที่สอดรับกับขอบเขต KM และจะเลือกด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในปีการศึกษา 2558 ประกอบด้วย

    การจัดการความรู้การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ)

    การจัดการความรู้การให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ 3.3 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Key Success Factor) ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (Key Success Factor) เพ่ือให้ด าเนินการจัดการความรู้ตามเป้าหมาย KM ที่เลือกท า สามารถน าไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมภายในส านักวิทยบริการฯ คือ

    การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (KM1 Focus Area)

    1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 2. อบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google

    for Education การจัดการความรู้การบริการฐานข้อมูลอิเลคทรอนิคส์ (KM2 Focus Area)

    1. คู่มือการใช้ฐานข้อมูล 2. คู่มือการบริการความรู้ด้านฐานข้อมูลออนไลน์ 3. อบรมการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

  • ARIT KM Plan 2015 Page - 7 -

    ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ประเด็นความรู้ และแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) แบบฟอร์ม 1 ขอบเขตของส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

    ขอบเขตย่อย KM ที่ (KM Focus Areas)

    ประโยชน์ที่จะได้รับจากขอบเขต KM ที่มีต่อ

    นักศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ประชาชน/ผู้มีส่วน

    ได้ส่วนเสีย มหาวิทยาลัย

    ชุมชน/ท้องถิ่น

    ขอบเขตหลักที่ 1 การจัดการเรียนการสอนตามกรอบ TQF (สนับสนุนสื่อการเรียนรู้) 1. การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้

    สามารถน าสื่อการเรียนการสอนมาศึกษาด้วยตนเองได้ตลอดเวลา

    - คณาจารย์ได้สื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนกิส์ - เจ้าหนา้ที่เข้าใจกระบวนการผลิตส่ือและสามารถอธบิายและถ่ายทอดใหก้ับเพื่อนร่วมงานและบุคลากรอื่นๆ ได้

    มีแหล่งเรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติมได้ทุกที่ทุกเวลา

    ได้แหล่งเรียนรู้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ส าหรับนักศึกษา เพือ่สนับสนุนการผลิตบัณฑิตและการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ

    มีแหล่งเรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติม ได้ทุกที่ทุกเวลา

    ขอบเขตหลักที่ 5 การพัฒนาบุคลากรสู่มืออาชีพ (เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ) 5. การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการความรู้ด้านฐานข้อมูลออนไลน ์

    5.1 มีความรู้ความเข้าใจในการสืบค้นข้อมูลทางวิชาการเพื่อการศึกษา 5.2 มีทักษะการสืบค้นข้อมูลทางวิชาการเพื่อการศึกษา 5.3 มีแหล่งเรียนรู้ที่สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ทุกที่ ทุกเวลา

    5.1 มีความรู้ความเข้าใจในการสืบค้นข้อมูลทางวิชาการเพื่อการศึกษาวิจัย 5.2 มีทักษะการสืบค้นข้อมูลทางวิชาการเพื่อการศึกษาวิจยั 5.3 มีแหล่งเรียนรู้ที่สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ทุกที่ ทุกเวลา 5.4 มีแหล่งอ้างอิงผลงานทางการศึกษาวิจยั 5.5 มีแนวทางและแหล่งการรวบรวบผลงานทางการศึกษาวิจยัของอาจารย ์

    5.2 มีแหล่งเรียนรูศึ้กษาเพิ่มเติมได้ทุกที่ทุกเวลา

    5.1 ตอบสนองยุทธศาสตร์การผลิตบัณฑิตและการวจิัยของมหาวิทยาลัย 5.2 ยกระดับมาตรฐานการศึกษาของมหาวิทยาลัยสู่สากล 5.3 เป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดจิิทัล

    5.1 มีแหล่งเรียนรู้ที่สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ทุกที่ ทุกเวลา

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ: ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ. มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 8

    แบบฟอร์ม 2 การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM ของส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

    เกณฑ์การก าหนดขอบเขต KM ขอบเขต KM

    ที่ 1 ขอบเขต KM ที ่2

    ขอบเขต KM ที ่3

    ขอบเขต KM ที่ 4

    ขอบเขต KM ที่ 5

    1. สอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร ์ 6 6 2.ปรับปรุงแล้วเห็นได้ชดัเจน (เป็นรูปธรรม) 6 6 3.มีโอกาสท าได้ส าเรจ็สูง 6 6 4.ต้องท าคนส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยต้องการ 6 6 5.ผู้บริหารให้การสนับสนุน 6 6 6.เป็นความรู้ที่ต้องจดัการอย่างเรง่ด่วน 6 6

    รวมคะแนน 36 36 หมายเหตุ : เกณฑ์การให้คะแนน คือมากท่ีสุด = 6, ปานกลาง = 3, น้อย = 1้

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ: ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ. มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 9

    4.1 แผนการจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์ (KM1 Action Plan)

    แบบฟอร์ม 3 เป้าหมาย KM(Desired State) ของกลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ขอบเขต KM (KM Focus Area) คือ 1. การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้

    เป้าหมาย KM (Desired State) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม เป้าหมาย KM ที่ 1 การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ)

    1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ จ านวน 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education (>= ร้อยละ 85)

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ: ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ. มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 10

    แบบฟอร์ม 4 Check List ทวนสอบการก าหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วันที่ 18/ธ.ค./2558 เป้าหมาย KM (Desired State) : การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย KM : 1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education (>= ร้อยละ 85) ล าดับ รายการ Check List ระบุรายละเอียด 1. กระบวนงาน (Work Process) ที่เกี่ยวข้อง 1.1 กระบวนงานไหนบ้างเชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM งานพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.2 ขั้นตอนไหนบ้างเช่ือมโยงกับเป้าหมาย KM 1. ประสานอาจารย์ที่เกีย่วข้องเพื่อขอสื่อการเรยีนการสอน

    2. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาสื่อการเรียนการสอน 3. จัดท าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม I Love Library Network Builder 4. ตรวจความถูกต้องหลังจากจัดท าสื่ออิเล็กทรอนกส ์5. น าเข้าระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเผยแพร ่6. ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

    1.3 กระบวนงานไหนบ้างเชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM และ สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตรข์องหน่วยงานด้วย

    งานพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ

    1.4 ขั้นตอนไหนบ้างเช่ือมโยงกับเป้าหมาย KM และสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงานด้วย

    1. ประสานอาจารย์ที่เกีย่วข้องเพื่อขอสื่อการเรยีนการสอน 2. ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาสื่อการเรียนการสอน 3. จัดท าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม I Love Library Network Builder 4. ตรวจความถกูต้องหลังจากจัดท าสื่ออิเล็กทรอนิกส ์5. น าเข้าระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเผยแพร ่6. ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

    1.5 คิดเป็นจ านวน กระบวนงานและขัน้ตอนเท่าไร 1 กระบวนงาน 6 ขั้นตอน 1.6 อะไรคือตัวช้ีวัดของกระบวนงานท่ีเชื่อมโยงกับเป้าหมาย KM

    และ สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงานด้วย แบ่งปันแลกเปลีย่นความรู ้

  • ARIT KM Plan 2015 Page 11

    แบบฟอร์ม 4 Check List ทวนสอบการก าหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วันที่ 18/ธ.ค./2558 เป้าหมาย KM (Desired State) : การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย KM : 1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education (>= ร้อยละ 85) ล าดับ รายการ Check List ระบุรายละเอียด 2. กลุ่มผู้เกี่ยวข้องภายในส านักวิทยบริการฯ 2.1 หน่วยงานไหนของส านักวิทยบริการฯ ที่ต้องแบ่งปัน

    แลกเปลีย่น/Sharing K. กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ

    2.2 ใครบ้างในหน่วยงานท่ีต้องแบ่งปันแลกเปลีย่น/Sharing K. 1. บรรณารักษ ์2. นักวิชาการคอมพิวเตอร ์3. นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 4. ผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด

    2.3 คิดเป็นจ านวนคนเท่าไรที่ต้องแบ่งปันแลกเปลี่ยน/Sharing K. 5 คน 2.4 หน่วยงานไหนของส านักวิทยบริการฯ ที่ต้องเรียนรู้/Learning

    K. 1. กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ 2. กลุ่มงานบริการทรัพยากรสารสนเทศ 3. กลุ่มงานบริหารทั่วไป 4. กลุ่มงานเทคโนโลยสีารสนเทศ

    2.5 ใครบ้างในหน่วยงานที่ต้องเรียนรู/้Learning K. 1. บรรณารักษ ์2. นักเอกสารสนเทศ 3. นักวิชาการคอมพิวเตอร ์4. นักวิชาการโสตทัศนศึกษา 5. นักบริหารงานท่ัวไป 6. ผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด

    2.6 คิดเป็นจ านวนคน เท่าไรทีต่้องเรียนรู้ /Learning K. 24 คน

    3. กลุ่มผู้เกี่ยวข้องภายนอกส านักวิทยบริการฯ (ผู้ใช้บริการ/Outsource) 3.1 องค์กรไหนท่ีต้องแบ่งปันแลกเปลีย่น / Sharing K. คณะมนุษยษศาสตรฯ์

  • ARIT KM Plan 2015 Page 12

    แบบฟอร์ม 4 Check List ทวนสอบการก าหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วันที่ 18/ธ.ค./2558 เป้าหมาย KM (Desired State) : การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย KM : 1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education (>= ร้อยละ 85) ล าดับ รายการ Check List ระบุรายละเอียด 3.2 ใครบ้างในมหาวิทยาลยัที่ต้องแบ่งปันแลกเปลี่ยน / Sharing

    K. อาจารยผ์ู้สอนคณะมนุษยษศาสตร์ฯ

    3.3 คิดเป็นจ านวนคนเท่าไรที่ต้องแบ่งปันแลกเปลี่ยน / Sharing K.

    ร้อยละ 50 ของคณะมนุษยศาสตร ์

    3.4 องค์กรไหนท่ีต้องเรยีนรู้ / Learning K. คณะมนุษยษศาสตรฯ์ และผู้สนใจ 3.5 ใครบ้างในองค์กรที่ต้องเรียนรู้ / Learning K. อาจารยผ์ู้สอนคณะมนุษยษศาสตร์ฯ 3.6 คิดเป็นจ านวนคน เท่าไรทีต่้องเรียนรู้ / Learning K. 150 คน

    4. ความรู้ที่จ าเป็น (EK/ TK) ในกระบวนงาน (Work Process) 4.1 มีความรู้ EK อะไรบ้างท่ีต้องเข้ากระบวนการจดัการความรู้

    เพื่อปรับให้ทันสมัยกับกาลเวลา (ระบุมาทั้งหมดเท่าที่ท าได้) 1. การผลติสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทีเ่ปน็รูปแบบมลัติมเีดียที่มีทั้งภาพ ท้ังภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวและเสียง

    4.2 มีความรู้ EK อะไรบ้างท่ีจดัการครัง้เดียวแล้วไม่ต้องปรับอีกเลย (ระบุมาทั้งหมดเท่าที่ท าได้)

    1. คู่มือโปรแกรม I Love Library Network Builder ส าหรับสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส ์

    4.3 มีความรู้ TK อะไรบ้างท่ีต้องเข้ากระบวนการจดัการความรู้เพื่อปรับให้ทันสมัยกับกาลเวลาและอยู่กับใครบา้ง (ระบุมาทั้งหมดเท่าที่ท าได้)

    เรียนรู้และพัฒนาเทคนิคและรูปแบบการผลิตสิ่อิเล็กทรอนิกส ์

    4.4 มีความรู้ TK อะไรบ้างท่ีจัดการครัง้เดียวแล้วไม่ต้องปรับอีกเลยและอยู่กับใครบ้าง (ระบุมาทัง้หมดเท่าที่ท าได้)

    ไม่ม ี

    4.5 จากข้อ 4.1, 4.2 ความรู ้ EK อะไรบ้างที่เรามีและ เรายังไม่ม ี ที่เรามี 1. คู่มือระบบ I Love Library 2. คู่มือมาตรฐานสื่อดิจิทัล (STKS)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 13

    แบบฟอร์ม 4 Check List ทวนสอบการก าหนดขอบเขต KM (KM Focus Area) และเป้าหมาย KM (Desired State) ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี วันที่ 18/ธ.ค./2558 เป้าหมาย KM (Desired State) : การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย KM : 1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education (>= ร้อยละ 85) ล าดับ รายการ Check List ระบุรายละเอียด

    3. คู่มือการผลิตสื่อการเรยีนการสอน ที่เราไม่มี

    4.6 จากข้อ 4.3, 4.4 ความรู ้ TK อะไรบ้างท่ีเรามีและ เรายังไม่ม ี ที่เรามี 1. เทคนิคและรูปแบบการผลิตสิ่ออิเล็กทรอนิกส ์ที่เราไม่มี

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ: ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 14

    แบบฟอร์ม 5 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 1 - กระบวนการจัดการความรู้ โปรดอ่านข้อความด้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการด าเนินการในเรื่องการจดัการความรู้อยู่ในระดับใด 0 =ไมม่ีเลย / มีน้อยมาก 1 =มีน้อย 2 =มีระดับปานกลาง 3 =มีในระดับท่ีด ี4 =มีในระดับท่ีดมีาก หมวด 1 กระบวนการจัดการความรู้ สิ่งที่มีอยู ่/ ท าอยู่ ระดับ 1.1. ส านกัฯ มีการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อหาจดุแข็งจุดอ่อนในเรื่องการจัดการความรู้เพื่อปรับปรุงในเรื่องความรู้เช่น องค์กรยังขาดความรู้ทีจ่ าเป็นต้องมี หรือองค์กรไมไ่ดร้วบรวมความรู้ทีม่ีอยู่ให้เป็นระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการน าไปใช้ ไม่ทราบว่าคนไหนเก่งเรื่องอะไร ฯลฯ และมีวิธีการที่ชัดเจนในการแกไ้ข ปรับปรุง

    ประชุมกลุม่งานเพ่ือหาองค์ความรู้ที่จ าเป็นและปรับปรุงแก้ไขและปฏิบัติงาน

    2

    1.2. ส านักฯ มีการแสวงหาข้อมลู/ความรูจ้ากแหล่งต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากองค์กรที่มีการให้บริการคลา้ยคลึงกัน (ถ้ามี)อย่างเป็นระบบและมีจรยิธรรม

    มีการแสวงหาข้อมลู/ความรู้ โดยการส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง

    3

    1.3 ทุกคนในส านักฯ มีส่วนร่วมในการแสวงหาความคิดใหม่ ๆระดบัเทียบเคียง (Benchmarks) และ Best Practices จากองค์กรอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน (บริการหรือด าเนินงานท่ีคลา้ยคลงึกัน ) และจากองค์กรอื่น ๆ ที่มีลกัษณะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

    มีการแสวงหาความรู้ใหม่ๆโดยการอบรม สมัมนา และศึกษาดูงานจากองค์กรที่มีความเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน

    1

    1.4 ส านักฯ มีการถ่ายทอด Best Practices อย่างเป็นระบบซึ่งรวมถึงการเขียน Best Practices ออกมาเป็นเอกสารและการจดัท าข้อสรุปบทเรียนที่ได้รับ (Lessons Learned)

    มีการรวบรวม วิเคราะห์แนวปฏิบัติที่ได้จากการพัฒนางานประจ ามาเป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน

    3

    1.5 ส านักฯ เห็นคณุค่า “Tacit Knowledge” หรือ ความรู้และทกัษะ ท่ีอยู่ในตัวบุคลากร ซึ่งเกดิจากประสบการณแ์ละการเรียนรู้ของแต่ละคน และให้มีการถ่ายทอดความรู้และทักษะนั้น ๆทัว่ท้ังองค์กร

    มีการแลกเปลีย่นเรยีนรู้ของบุคลากรที่มคีวามเชี่ยวชาญในงานท่ีปฏิบัติสู่บุคลากรขององค์กรให้เกิดการเรียนรู้และสามารถน าไปปฏิบัติงานได ้

    4

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัต:ิ ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 15

    แบบฟอร์ม 6 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 2 - ภาวะผู้น า โปรดอ่านข้อความด้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการด าเนินการในเรื่องการจดัการความรู้อยู่ในระดับใด 0 =ไมม่ีเลย / มีน้อยมาก 1 =มีน้อย 2 =มีระดับปานกลาง 3 =มีในระดับท่ีด ี4 =มีในระดับท่ีดมีาก

    หมวด 2 ภาวะผู้น า สิ่งที่มีอยู ่/ ท าอยู่ ระดับ 2.1 ผู้บริหารก าหนดให้การจัดการความรู้เป็นกลยุทธ์ที่ส าคัญในส านักฯ

    ก าหนดให้เป็นกลยุทธ์ในแผนกลยทุธ์ระดับส านักฯ

    4

    2.2 ผู้บริหารตระหนักว่า ความรู้เป็นสินทรัพย์ (Knowledge Asset) ที่สามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับองค์กรได้และมีการจัดท ากลยุทธ์ที่ชัดเจนเพื่อน าสินทรัพย์ความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ประโยชน์ (เช่น ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากขึ้นให้บริการได้รวดเร็วและตรงตามความต้องการสร้างความพึงพอใจให้ผู้ใช้บริการ เป็นต้น)

    สนับสนุนให้บุคลากรไดร้ับการพัฒนาตนเอง เพื่อน าความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพ

    4

    2.3 ส านักฯ เน้นเรื่องการเรียนรู้ของบุคลากรเพื่อส่งเสริม Core Competencies เดิมที่มีอยู่ให้แข็งแกร่งขึ้น และพัฒนา Core Competencies ใหม่ๆ (Core Competencies หมายถึง ความเก่งหรือความสามารถเฉพาะทางขององค์กร)

    สนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองตามวิชาชีพและสายการปฏิบตัิงานของตนเอง

    4

    2.4 การมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ขององค์กรเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์ที่องค์กรใช้ประกอบในการพิจารณาในการ ประเมินผลและให้ผลตอบแทนบุคลากร

    ใช้ประกอบการพิจารณาในการประเมินผลงานประจ าป ี

    3

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัต:ิ ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 16

    แบบฟอร์ม 7 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 3 - วัฒนธรรมในเร่ืองการจัดการความรู้ โปรดอ่านข้อความด้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการด าเนินการในเรื่องการจดัการความรู้อยู่ในระดับใด 0 =ไมม่ีเลย / มีน้อยมาก 1 =มีน้อย 2 =มีระดับปานกลาง 3 =มีในระดับท่ีด ี4 =มีในระดับท่ีดมีาก

    หมวด 3 วัฒนธรรมในเร่ืองการจัดการความรู้ สิ่งที่มีอยู ่/ ท าอยู่ ระดับ 3.1 ส านักฯ ส่งเสริมและให้การสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากร

    ส่งเสริมให้บุคลากรน าความรู้ทีไ่ดม้าถ่ายทอดให้บุคลากรในกลุ่มงานท่ีเกี่ยวข้อง

    4

    3.2 พนักงานในส านักฯ ท างานโดยเปิดเผยข้อมูลและมีความไว้เนื้อเชื่อใจกันและกัน

    ส่งเสริมให้บุคลากรน าความรู้ทีไ่ดม้าถ่ายทอดให้บุคลากรในกลุ่มงานท่ีเกี่ยวข้อง

    4

    3.3 ส านักฯ ตระหนักว่าวัตถุประสงค์หลักของการจัดการความรู้คือ การสร้าง หรือเพิ่มพูนคุณค่าให้แก่ผู้ ใ ช้บริการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    น าวิธีการของการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัตงานและอบรมแก่ผู้ใช้บริการ

    3

    3.4 ส านักฯ ส่งเสริมให้บุคลากร เกิดการเรียนรู้ โดยการให้อิสระในการคิด และการท างาน รวมทั้งกระตุ้นให้พนักงานสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ

    ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมสี่วนร่วมในการวางแผนด าเนินกิจกรรมร่วมกัน

    4

    3.5 ทุกคนในส านักฯ ถือว่าการเรียนรู้เป็นหน้าท่ีและความรับผิดชอบของทุกคน

    สนับสนุนให้ทุกคนได้เห็นความส าคัญของการเรยีนรู้และน ามาปฏิบัติในการท างานได ้

    4

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัต:ิ ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 17

    แบบฟอร์ม 8 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 4 - เทคโนโลยีการจัดการความรู้ โปรดอ่านข้อความด้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการด าเนินการในเรื่องการจดัการความรู้อยู่ในระดับใด 0 =ไม่มีเลย / มีน้อยมาก 1 =มีนอ้ย 2 =มีระดับปานกลาง 3 =มีในระดับท่ีด ี4 =มีในระดับท่ีดมีาก

    หมวด 4 – เทคโนโลยีการจัดการความรู้ สิ่งที่มีอยู ่/ ท าอยู่ ระดับ 4.1 เทคโนโลยีที่ใช้ช่วยให้ทุกคนในส านักฯ สื่อสารและเช่ือมโยงกันได้อย่างทั่วถึงทั้งภายในส านักฯ และกับองค์กร/หน่วยงานภายนอก

    มีการสื่อสารเช่ือมโยงกันได้หลายรูปแบบ เช่น e-mail, facebook, เว็บไซต์การจัดการความรู้ : ARIT Knowledge Management Url : http://lib.pbru.ac.th/aritkm

    4

    4.2 เทคโนโลยีที่ใช้ก่อให้เกิดคลังความรู้ของส านักฯ (An Institutional Memory ) ที่ทุกคนในส านักฯ สามารถเข้าถึงได้

    เว็บไซต์การจัดการความรู้ : ARIT Knowledge Management Url : http://lib.pbru.ac.th/aritkm

    3

    4.3 เทคโนโลยีที่ใช้ท าให้บุคลากรในส านักฯ เข้าใจและใกล้ชิดผู้มาใช้บริการมากขึ้น เช่น ความต้องการและความคาดหวัง พฤติกรรมและความคิด เป็นต้น

    มีการใช้เทคโนโลยี เว็บไซต์ บล็อก Facebook สื่อสารกันระหว่างบุคลากรในองคก์ร รวมทั้งผู้มาใช้บริการ

    1

    4.4 ส านักฯ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเน้นความต้องการของผู้ใช้

    มีการน าเทคโนโลยี เว็บไซต์ บล็อก Facebook ที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ

    1

    4.5 ส านักฯ กระตือรือร้นที่จะน าเทคโนโลยีที่ช่วยให้พนักงานสื่อสารเชื่อมโยงกันและประสานงานกันได้ดีขึ้น มาใช้ในองค์กร

    มีการน าเทคโนโลยี google apps มาใช้ในการสื่อสารเช่ือมโยงและประสานงานกันภายในองค์กร

    1

    4.6 ระบบสารสนเทศของส านักฯ ชาญฉลาด (Smart) ให้ข้อมูลได้ทันทีที่เกิดขึ้นจริง (Real Time) และข้อมูลสารสนเทศในระบบมีความเช่ือมโยงกัน

    มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ที่สามารถให้ข้อมลูได้ทันทีและสามารถพัฒนาการเชื่อมโยงกับระบบ MIS ของมหาวิทยาลยัได ้

    1

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัต:ิ ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 18

    แบบฟอร์ม 9 แบบประเมินองค์กรตนเองเร่ืองการจัดการความรู้ หมวด 5 - การวัดผลการจัดการความรู้ โปรดอ่านข้อความด้านล่างและประเมินว่าองค์กรของท่านมีการด าเนินการในเรื่องการจดัการความรู้อยู่ในระดับใด 0 =ไมม่ีเลย / มีน้อยมาก 1 =มีน้อย 2 =มีระดับปานกลาง 3 =มีในระดับที่ด ี4 =มีในระดับท่ีดมีาก

    หมวด 5 การวัดผลการจัดการความรู้ สิ่งที่มีอยู ่/ ท าอยู่ ระดับ 5.1 ส านักฯ มีวิธีการที่สามารถเช่ือมโยงการจดัการความรู้กับผลการด าเนินการทีส่ าคัญขององค์กรเช่นผลลัพธ์ในด้านผู้ใช้บริการ ด้านการพัฒนาองค์กร ฯลฯ

    มีการเชื่อมโยงการจัดการความรู้กบัผลลัพธ์ในด้านผู้ใช้บริการในเรื่อง การพัฒนาการบริการฐานข้อมลูออนไลน ์

    1

    5.2 ส านักฯ มีการก าหนดตัวช้ีวัดของการจัดการความรู้โดยเฉพาะ มีการก าหนดตัวช้ีวัดของการจัดการความรู้ในองค์ประกอบท่ี 1 การบรหิารจดัการ ตัวช้ีวัดที่ 1.5 การพัฒนาสถาบันสูอ่งค์กรแห่งการเรียนรู ้

    1

    5.3 จากตัวช้ีวัดในข้อ 5.2 ส านกัฯ สร้างความสมดุลระหว่างตัวช้ีวัดที่สามารถตีค่าเป็นตัวเงินได้ง่าย (เช่น ต้นทุนท่ีลดได้ ฯลฯ) กับตัวช้ีวัดที่ตีค่าเป็นตัวเงินได้ยาก ( เช่น ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการ การตอบสนองผู้ใช้บริการไดเ้ร็วข้ึน การพัฒนาบุคลากร ฯลฯ )

    มีการจัดสรรงบประมาณกับสถาบนัเครือข่ายความร่วมมือเพื่อบอกรับฐานข้อมูลโดยการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

    0

    5.4 ส านักฯ มีการจัดสรรทรัพยากรให้กับกิจกรรมต่างๆที่มสี่วนส าคัญที่ท าให้ฐานความรู้ขององค์กรเพิ่มพูนข้ึน

    - มีการจัดสรรทรัพยากร สถานท่ี อุปกรณ์สิ่งอ านวยความสะดวกเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการจัดการความรู้ของส านักฯ - มีระบบการจัดการความรู้ ARIT Knowledge Management และมีการน าความรู้เข้าสู่ระบบการจัดการความรู้ของส านักฯ

    2

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัต:ิ ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 19

    แบบฟอร์ม 10 – แผนการจดัการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process)

    ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เป้าหมาย KM (Desired State) : การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม KM ที่ 1 : 1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เคร่ืองมือ/อุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ สถานะ

    1 การบ่งช้ีความรู ้ วิเคราะหป์ัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน

    ก.พ. 59 ประเด็นองค์ความรู ้

    1 ประเด็น แบบฟอร์ม KM ที่ 1, 2, 3 และ 4

    แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์

    2 การสร้างและแสวงหาความรู ้

    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผูเ้ชี่ยวชาญ - ค้นหาข้อมูลทั้งเอกสาร และอินเทอร์เน็ตเพื่อน ามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับงาน - จัดอบรมเพื่อเพ่ิมเติมความรู ้

    มี.ค. 59 - ความพึงพอใจของบุคลากรที่ได้รับความรู้ในการจัดเก็บสื่อดิจิทัล

    ร้อยละ 85 แบบสอบถามความพึงพอใจ

    - วิทยากรจากบริษัท OpenServe แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์

  • ARIT KM Plan 2015 Page 20

    ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เคร่ืองมือ/อุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ สถานะ

    3 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

    - จัดท าคู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทลับนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์บนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์- เผยแพรผ่่าน Social Network เช่น Blog, Google+

    มี.ค. 59 เม.ย. 59

    - คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์บนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์ - ช่องทางการเผยแพร ่

    1 2

    - คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์บนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์ - Social Network เช่น Blog, Google+ - ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์

    แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์อาพร

    4 การประมวลและกลั่นกรองความรู ้

    - มีการปรับปรุง/ทบทวน การจัดเก็บสื่อดิจิทัลให้ทันสมัย และสอดคล้องกับการปฏิบัติอย่างเป็นปัจจุบัน

    เม.ย. 59 - คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบคลัง I Love Library (แก้ไข)

    1 - อุปสรรคและปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน

    แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์

  • ARIT KM Plan 2015 Page 21

    ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เคร่ืองมือ/อุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ สถานะ

    5 การเข้าถึงความรู ้

    - บนระบบSocial Network เช่น Blog, Google+ - คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์

    เม.ย. 59 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการเข้าถึงข้อมูล

    ร้อยละ 85 - บนระบบ Social Network เช่น Blog, Google+ - บนระบบคลังดจิิทัลห้องสมุด

    แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์

    6 การแบ่งปันแลกเปลีย่นความรู ้

    - การแนะน า - ช่วยสอน - ประชุมกลุ่มงาน

    พ.ค. 59 จ านวนบุคลากร

    17คน - คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์- การสนทนา/พูดคุย - เอกสารประกอบการประชุม

    แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์

    7 การเรยีนรู ้ - บูรณาการสนับสนุนการผลติสื่อการเรียนการสอนของอาจารย์ โดยยดึถือและปฏิบตัิการจัดเก็บข้อมลูสื่อดิจทิัลตามคู่มือจดัเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์

    มิ.ย. 59 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อความถูกต้องของข้อมูล

    ร้อยละ 85 - คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส ์- แบบสอบถามความพึงพอใจ

    แขนภา สวัสดิ ์วันเพ็ญ ณฐกฤตย ์

    ผู้ทบทวน / ผู้อนุมัติ: ……………………..……………………………………… (CKO / ผู้บริหารระดับสูงสุด)

    (อ.มธุรส ปราบไพรี)

  • ARIT KM Plan 2015 Page 22

    แบบฟอร์ม 11– แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) ชื่อหน่วยงาน : กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เป้าหมาย KM (Desired State) : การจัดการความรู้การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (ระยะที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และอาจารย์ที่สนใจ) หน่วยที่วัดผลได้เป็นรูปธรรม KM ที่ 1 : 1. คู่มือจัดเก็บสื่อดิจิทัลบนระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม 2. ร้อยละความพึงพอใจการอบรมการสร้างสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม PowerPoint และ Google for Education ล าดับ กิจกรรม วิธีการสู่ความส าเร็จ ระยะเวลา ตัวชี้วัดกิจกรรม เป้าหมาย เคร่ืองมือ/อุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ สถานะ

    1 การเตรียมการและปรับเปลีย่นพฤติกรรม

    1. ท าแผนการจัดอบรม 2. ติดต่อ/ประสานอาจารย์คณะมนุษยศาสตรฯ์

    1. จ านวนร้อยละของอาจารย์ที่เข้าอบรม/จ านวนของอาจารย์ทั้งหมดคณะมนุษยศาสตร์ฯ

    ร้อยละ 50 ของอาจารย์ที่เข้าอบรม/จ านวนของอาจารย์คณะมนุษยศาสตร์ฯ ทั้งหมด

    บันทึกข้อความเชิญอาจารย์เข้าร่วมอบรม

    - กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ

    2 การสื่อสาร 1. มีช่องทางการสื่อสารและถ่ายทอดข้อมูลความรู้ภายในองค์กร ได้แก่ e-mail, facebook, เว็บไซต์การจัดการความรู้ : ARIT Knowledge Management (http://lib.pbru.ac.th/aritkm)

    - มีช่องทางการสื่อสาร

    อย่างน้อย 2 ช่องทาง

    e-mail, facebook, เว็บไซต์การจัดการความรู้ : ARIT Knowledge Management Url : http://lib.pbru.ac.th/aritkm

    - - ผู้บ�