44
ประชากร (Population)

Pop oui

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Pop oui

ประชากร (Population)

Page 2: Pop oui

ค าจ ากัดความ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในมาตราของเวลาหนึ่งๆ

Page 3: Pop oui
Page 4: Pop oui

ความหนาแน่นของประชากร(Population density)

คือจ านวนประชากรต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตร ความหนาแน่นของประชากร แบ่งออกเป็น 2ประเภทคือ 1. การหาความหนาแน่นอย่างหยาบ(crude density) เป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมดของที่อยู่อาศัย 2. ความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological density) เป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยจริงของสิ่งมีชีวิตนั้น

Page 5: Pop oui

ความหนาแน่นของประชากร(Population density)

1. การหาความหนาแน่นอย่างหยาบเป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมดของที่อยู่อาศัย - ประชากร/พื้นที่ทั้งหมด เช่น พื้นที่ป่ามี 5 ไร่ มีตั๊กแตนอยู่ 500 ตัว

ความหนาแน่น = 500/5 ตัวต่อไร่ = 100 ตัวต่อไร ่

Page 6: Pop oui

ความหนาแน่นของประชากร

2. การหาความหนาแน่นเชิงนิเวศ เป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยจริงของสิ่งมีชีวิตนั้น

- จ านวนหรือมวลของประชากร/พื้นที่ประชากรอาศัยอยู่จริง เช่น ในพื้นที่ป่ามี 50 ไร่ แต่มีบริเวณที่ปลูกผักรวมแล้วเพียง 10

ไร่ ประชากรหนอนมีอยู่ 50,000 ตัว ดังนั้นความหนาแน่น = 50,000/10 ตัวต่อไร = 5,000 ตัวต่อไร่

Page 7: Pop oui

7

วิธีประเมินค่าความหนาแน่นของประชากร

1. สุ่มตัวอย่างแบบวางแปลง (Quadrat sampling method) 2. ท าเครื่องหมายและจับซ้ า (Mark and recapture method) จากสูตร

P = T2M1

M2

P = ประชากรที่ตองการทราบ T2 = จ านวนสัตวทั้งหมดที่จับไดครั้งหลงัทั้งที่มีเครือ่งหมายและไมมี เครื่องหมาย (สัตว์ที่จับได้ทั้งหมดครั้งหลัง) M1 = จ านวนสัตวที่จับไดครั้งแรกและท าเครื่องหมายทั้งหมดแลวปลอย M 2= จ านวนสัตวที่ท าเครื่องหมายที่จับไดครั้งหลงั

Page 8: Pop oui

• การศึกษาจ านวนจิงโจ้ในทุ่งหญ้าแหง่หนึ่งที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 kmโดยจับจิงโจ้มาท าเครื่องหมาย 80 ตัว แล้วปล่อยไป สัปดาห์ต่อมาจับจิงโจ้ได้มา 100 ตัว เป็นจิงโจ้ที่มีเครื่องหมาย 4 ตัว ความหนาแน่นของจิงโจ้ในทุ่งหญ้าแห่งนี้เป็นกี่ตัว/ตารางกิโลเมตร

P = T2M1

M2

P = ประชากรที่ตองการทราบ

T2 = 100

M1 = 80

M 2= 4 ดังนั้น ประชากรทั้งหมดที่ต้องการส ารวจ = 2000 ตัว

Page 9: Pop oui
Page 10: Pop oui

ปัจจัยอื่น ๆ - สภาพภูมิศาสตร์

การแพร่กระจายของประชากร

- ความสูงจากระดับน้ าทะเล - อุณหภูม ิ- ความเป็นกรด-เบส - แสง

ปัจจัยทางชีวภาพ ปัจจัยทางกายภาพ

- การล่า - เชื้อโรค - อาหาร (ปริมาณและคุณภาพ) - ที่อยู่อาศัย ฯลฯ

Page 11: Pop oui

รูปแบบการแพร่กระจายของประชากร

1. การแพร่กระจายแบบสุม่ - พบมากในประชากรที่อาศัยอยู่ในธรรมชาต ิ- ไม่มีการแก่งแย่งแข่งขัน และไม่รวมกลุ่มของสิ่งมีชีวิต - การแพร่กระจายของพชืที่มีเมล็ดปลวิไปตามลม - สัตว์กินผลไม้แล้วอุจจาระทิ้งไว้ที่ต่าง ๆ

Page 12: Pop oui

รูปแบบการแพร่กระจายของประชากร 2. การแพร่กระจายแบบรวมกลุ่ม - การกระจายแบบนี้เปนรูปแบบการแพรกระจายของของประชากรที่พบใน

ธรรมชาติมากที่สุด - การรวมตัวกันเนื่องจากเหตุผลหลายประการ เช่น สภาพแวดล้อม

อุณหภูมิ ความชื้น เชน ไสเดือนดินพบตามดินรวนซุย และมีความชื้นสูง มีอินทรีวัตถุมาก หรือการสืบพันธที่ท าใหสมาชิกในประชากรมาอยู รวมกัน โดยเฉพาะตัวออน ที่ยังอาศัยการเลี้ยงดูจากพ่อแม่ เช่น สัตว์ที่อยู่เป็นกลุ่ม เช่น ชะนี

Page 13: Pop oui

รูปแบบการแพร่กระจายของประชากร

3. การแพร่กระจายแบบสม่ าเสมอ - พบในบริเวณที่มีปัจจัยทางกายภาพที่จ ากัด เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ลักษณะของดิน - กระบองเพชร การหากิน การสืบพันธุ์ การสร้างรัง

Page 14: Pop oui

ขนาดของประชากร

การอพยพ การตาย การเกิด

เข้า ออก

Page 15: Pop oui
Page 16: Pop oui

ปจจัยที่เปนสาเหตุของอัตราการตายแบงไดเปน 7 ปจจัย คือ

1. ความชราภาพ (aging)

2. ความสามารถในการอยูรอดต่ า (low vitality)

3. อุบัติเหตุ (accidents)

4. ลักษณะทางเคมีกายภาพ (physicochemical conditions)

5. ศัตรูธรรมชาติ (natural enemies)

6. ความขาดแคลนอาหาร (food shortage

7. ขาดแหลงคุมภัย (lack of shelter)

Page 17: Pop oui

การอพยพเขาและการอพยพออก (immigration and emigration)

• การอพยพเขา (immigration) เปนการเคลือ่นยายของสิง่มีชีวิตเขาสูสถานที่หนึ่ง เปนผลใหขนาดของประชากรในสถานที่นั้นเพิม่ขึ้น

• การอพยพออก (emigration) เปนการเคลื่อนยายประชากรสิง่มีชีวิตจากสถานที่หนึ่งไปสูสถานที่ใหมท าให้จ านวนประชากรในแหล่งเดิมลดจ านวนลง

Page 18: Pop oui

รูปแบบการเพิ่มของประชากร 1. การเพิ่มของประชากรแบบเอ็กโพเนนเซียล (Exponential Growth) - การเพิ่มประชากรเป็นแบบทวีคูณ - พบในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพนัธุ์ครั้งเดียว - J-shape curve (exponential) - ไม่มีขีดจ ากัด ( แต่ในธรรมชาติ ทั้งอาหารและพื้นที่อาศยัมี ปริมาณจ ากัด) - มี 2 ระยะ คือ 1. ระยะที่มีการเพิม่ของประชากรอย่างช้าๆ (lag phase) 2. ระยะที่มีการเพิ่มของประชากรอย่างรวดเรว็ (exponential growth phase)

Page 19: Pop oui

lag phase

exponential growth phase

การเพ่ิมขึ้นและลดลงของประชากรสลับกัน

lag phase

exponential growth phase

Page 20: Pop oui

- การเพิ่มประชากรแบบรูปตัวเจ และตามแนวคิดของมัลทัสมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร - เพราะเหตุใดกราฟการเพิ่มประชากรตามแนวคิดของมัลทัสในช่วงปลายจึงมีลักษณะขึ้นๆ ลงๆ

Page 21: Pop oui

Gajaseni, 2001 21

รูปแบบการเพิ่มของประชากร 2. การเพิ่มของประชากรแบบลอจิสติก Logistic Growth - ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม - S-shape curve (sigmoid) - ในการเพิ่มประชากรแบบลจิิสติกนี้ ตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อมมีผลมากขึ้นต่อการเพิ่มประชากรในระยะที ่3 และ 4 จึงท าให้มีขีดจ ากัดที่ท าให้สภาพแวดล้อมนั้นเลี้ยงดูประชากรได้ - ระดับที่สภาพแวดล้อมสามารถเลี้ยงดูประชากรได้มากที่สุดนี้เรียกว่า แครีอิงคาพาซิตี (Carrying capacity)

Page 22: Pop oui

กราฟการเพิ่มจ านวนของเซลล์ยีสต์แบบลอจิสติก

Page 23: Pop oui

กราฟเปรียบเทียบการเพิ่มจ านวนประชากรแบบรูปตัวเจและรูปตัวเอส

Page 24: Pop oui

- ในการเพ่ิมของประชากรแบบรูปตัวเอสนี้ ตัวต้านทานในสิ่งแวดล้อมมีบทบาทอย่างไรต่อการเพ่ิมของประชากร - ให้นักเรียนยกตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตที่มีการเพิ่มของประชากรแบบรูปตัวเอสมาอีกสัก 1-2 ตัวอย่าง

Page 25: Pop oui

การรอดชีวิตของประชากร

10 อันดับ สัตว์ที่อายุยืนที่สุด! อันดับที่ สัตว ์ อายุ (ปี)

10

25

9

60

Page 26: Pop oui

อันดับที่ สัตว ์ อายุ (ปี)

8

90

7

100

Page 27: Pop oui

อันดับที่ สัตว ์ อายุ (ปี)

6 หอยมุกน้้าจืด

110

5

120

Page 28: Pop oui

อันดับที่ สัตว ์ อายุ (ป)ี

4 ปลาสเตอร์เจียน

150

3 ปลาวาฬออร์ก้า

ในทวีป แอนตาร์กติก

200

Page 29: Pop oui

อันดับที่ สัตว ์ อายุ (ปี)

2

250

1

10000

Page 30: Pop oui

กราฟการรอดชีวิตของประชากร 1. Late loss - มีอัตราการรอดสูงในช่วงแรกเกิด และคงท่ีเม่ือโตขึ้น - อัตราการรอดต่ าเมื่อสูงวัย - มนุษย์ ช้าง ม้า สุนัข 2. Constant loss - อัตราการรอดเท่ากันทุกวัย เช่น ไฮดรา นก เต่า 3. Early loss - อัตราการรอดต่ าในช่วงแรกเม่ืออายุมากขึ้นอัตราการรอดสูง - ปลา หอย สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

Page 31: Pop oui

การเติบโตของประชากรมนุษย์

Page 32: Pop oui
Page 33: Pop oui
Page 34: Pop oui

อัตราการเกิดเชิงประเมินและอัตราการตายเชิงประเมินของประชากรมนุษย์ในทวีปต่างๆ ในปี พ.ศ. 2550

Page 35: Pop oui
Page 36: Pop oui

กิจกรรม ศึกษาข้อมูลประชากรในประเทศไทย 2462- 2557 แล้วน้าเสนอ

Page 37: Pop oui

Gajaseni, 2001 37

Page 38: Pop oui

Gajaseni, 2001 38

Page 39: Pop oui

Gajaseni, 2001 39

โครงสร้างอายุประชากรมนุษย ์1. วัยก่อนเจริญพันธุ์ (pre-reproductive) คือชวงของประชากรตั้งแตเกิดจนถึงกอนการสืบพันธุ อายุแรกเกิด – 14 ปี 2. วัยเจริญพันธุ (reproductive) คือชวงของประชากรทีส่ามารถผลิตลูกหลานได ช่วงอายุ 15 ปี-44 ปี 3. ชวงหลังวัยเจริญพันธุ (post-reproductive) คือชวงของประชากรหลังวัยสืบพันธุ ผลิตลูกไดลดนอยลง ช่วงอายุ 45 ปีขึ้นไป

Page 40: Pop oui

Gajaseni, 2001 40

1. พีระมิดแบบขยายตัว(expansive pyramid) เป็นพีระมิดประชากรที่มีรูปแบบของฐานพีระมิดกว้างและยอดแหลม ซึ่งแสดงถึง รูปแบบของอัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรที่สูง มีอัตราการเติบโต ของประชากรอย่างรวดเร็ว พบโครงสร้างประชากรแบบนี้ได้ในประเทศ กัวเตมาลา ซาอุดิอาระเบีย เคนยา

Page 41: Pop oui

Gajaseni, 2001 41

2. พีระมิดแบบคงที่ (stationary pyramid) เป็นพีระมิดประชากรที่มีรูปแบบคล้ายทรงกรวยปากแคบ หรือมีโครงสร้าง ประชากรในแต่ละช่วงอายุที่เพ่ิมขึ้นอย่างช้าๆ ซึ่งแสดงถึงรูปแบบของอัตราการ เกิดและอัตราการตายของประชากรที่ต่้า พบโครงสร้างประชากรแบบนี้ได้ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ไทย

Page 42: Pop oui

Gajaseni, 2001 42

3. พีระมิดแบบเสถียร (stable pyramid) เป็นพีระมิดประชากรที่มีรูปแบบคล้ายกับระฆังคว่้า หรือมีโครงสร้างประชากร ที่คงที่ ซึ่งแสดงถึงรูปแบบของอัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรที่ ไม่เปลี่ยนแปลงพบโครงสร้างประชากรแบบนี้ได้ในประเทศสเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย ประเทศพัฒนาแล้ว

Page 43: Pop oui

Gajaseni, 2001 43

4. พีระมิดแบบหดตัว (constrictive pyramid or declining pyramid) เป็นพีระมิดประชากรที่มีรูปแบบของฐานพีระมิดแคบ ตรงกลางพองออกและยอด ค่อยๆ แคบเข้าคล้ายรูปดอกบัวตูม ซึ่งแสดงถึงรูปแบบของอัตราการเกิดและ อัตราการตายที่ต่้า หรือมีโครงสร้างประชากรลดลง พบโครงสร้างประชากรแบบนี้ได้

ในประเทศสาธารณรัฐเยอรมนี สวีเดน สิงคโปร์

Page 44: Pop oui

พีระมิดโครงสร้างของประชากรมนุษย์ในปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2568 ก.ประเทศที่ก้าลังพัฒนา ข.ประเทศที่พัฒนาแล้ว